आ
หน้าตา
|
ภาษาร่วม
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ตัวอักษร
[แก้ไข]आ
การใช้
[แก้ไข]มาตรา (สระจม) ของสระนี้เขียนเป็น ा ต่อท้ายพยัญชนะ ตัวอย่างเช่น क → का
ภาษากุรุข
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากดราวิเดียนดั้งเดิม *aH (“นั่น, นั้น”)
คำกำหนด
[แก้ไข]आ (อา)
ภาษาคุชราตเก่า
[แก้ไข]คำสรรพนาม
[แก้ไข]आ (อา)
คำกำหนด
[แก้ไข]आ (อา)
คำสืบทอด
[แก้ไข]- คุชราต: આ (อา)
ภาษาเนปาล
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ä]
- สัทอักษรเทวนาครี: आ
- แม้ว่าการถอดเสียงตัวแรกสามัญมาก แต่ตัวที่สองคือค่าสัทศาสตร์ที่แท้จริง
ตัวอักษร
[แก้ไข]आ (อา)
- สระตัวที่ 2 ของภาษาเนปาล เขียนด้วยอักษรเทวนาครี
คำกริยา
[แก้ไข]आ (อา)
- low-respectful บุรุษที่สอง เอกพจน์ มาลาสั่งของ आउनु (อาอุนุ)
ภาษาโภชปุระ
[แก้ไข]คำสันธาน
[แก้ไข]ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:languages บรรทัดที่ 454: Substitution data 'bho-translit' does not match an existing module.
ภาษามราฐี
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /a/
เสียง: (file)
ตัวอักษร
[แก้ไข]आ (อา)
- สระตัวที่ 2 ของภาษามราฐี เขียนด้วยอักษรเทวนาครี
ภาษามัลดีฟส์
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /əː/, [əː]
ตัวอักษร
[แก้ไข]आ (ā)
- สระตัวที่ 2 ของภาษามัลดีฟส์ เขียนด้วยอักษรเทวนาครี
ภาษาเศรปา
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ɑ~ʌ]
ตัวอักษร
[แก้ไข]आ (อา)
- สระ [ɑ~ʌ] ของภาษาเศรปา
ภาษาสันสกฤต
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]จากอินโด-อิเรเนียนดั้งเดิม *HáH, จากอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *h₂éd (“to, at”); ร่วมเชื้อสายกับเจอร์แมนิกดั้งเดิม *at (ซึ่งเป็นรากของอังกฤษ at) และละติน ad; ตัวสะกด *d ในศัพท์ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมมักจะสลับกับ *h₁ ซึ่งตัวหลังปรากฏขึ้นก่อนพยัญชนะบางตัวแต่เดิม กลุ่มภาษาอินโด-อิเรเนียนใช้รูปแบบทั่วไปที่ลงท้ายด้วย *h₁ และกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียนอื่น ๆ ใช้รูปแบบทั่วไปที่ลงท้ายด้วย *d[1]
การออกเสียง
[แก้ไข]- (พระเวท) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ɑː/
- (สันสกฤตคลาสสิก) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ɑː/
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]आ • (ā́)
- (Vedic) separated formของ आ- (อา-)
คำปัจฉบท
[แก้ไข]आ • (อา)
- With senses determined by the accusative case:
- (+ กรรมการก) ใกล้ถึง, มุ่งหน้า, ถึง
- (+ กรรมการก) สำหรับ
- (+ กรรมการก) ใกล้ถึง, มุ่งหน้า, ถึง
- With senses determined by the ablative case:
- (+ อปาทานการก) จาก
- (+ อปาทานการก) ออกจาก, จากท่ามกลาง
- (+ อปาทานการก) จาก
- (+ อธิกรณการก) ใน, ที่, บน
คำบุพบท
[แก้ไข]आ • (อา)
- (+ กรรมการก) มากถึง...โดยเฉพาะ
- With senses determined by the ablative case
- (+ อปาทานการก) จนถึง, ถึง, เท่าที่
- (+ อปาทานการก) จาก
คำกังขาบท
[แก้ไข]आ • (อา)
- (+(X)อปาทานการก आ +(Y)อปาทานการก) จาก (X) ถึง (Y)
- c. 1700 BCE – 1200 BCE, Ṛgveda 7.95.2:
- एका॑चेत॒त्सर॑स्वती न॒दीनां॒ शुचि॑र्य॒ती गि॒रिभ्य॒ आ स॑मु॒द्रात्।
रा॒यश्चेत॑न्ती॒ भुव॑नस्य॒ भूरे॑र्घृ॒तं पयो॑ दुदुहे॒ नाहु॑षाय॥- ékācetat sárasvatī nadī́nāṃ śúcir yatī́ giríbhya ā́ samudrā́t
rāyáś cétantī bhúvanasya bhū́rer ghr̥tám páyo duduhe nā́huṣāya - Sarasvatī, chief and pure of rivers, flowing from the mountains to the ocean
understood the request of Nahuṣa, and distributing riches among the many existing beings, milked for him butter and water.
- ékācetat sárasvatī nadī́nāṃ śúcir yatī́ giríbhya ā́ samudrā́t
- एका॑चेत॒त्सर॑स्वती न॒दीनां॒ शुचि॑र्य॒ती गि॒रिभ्य॒ आ स॑मु॒द्रात्।
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Garnier, Romain (2014), chapter Nouvelles réflexions sur l’effet-Kortlandt, in Glotta, volume 90, Vandenhoeck & Ruprecht, pages 140-160
ภาษาฮินดี
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /aː/, /a/, /ɑː/, [äː]
- การถอดเสียงสามตัวแรกสามัญมาก แต่ตัวที่สี่เป็นค่าสัทศาสตร์ที่แท้จริง
เสียง: (file)
ตัวอักษร
[แก้ไข]आ (ā)
- สระตัวที่ 2 ของภาษาฮินดี เขียนด้วยอักษรเทวนาครี
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (มาตรา): ा (า)
- (ตัวอักษรในอักษรเทวนาครี) अ, आ, इ, ई, उ, ऊ, ऋ, ए, ऐ, ओ, औ, अं, अः, अँ, क, ख, ग, घ, ङ, च, छ, ज, झ, ञ, ट, ठ, ड, ढ, ण, त, थ, द, ध, न, प, फ, ब, भ, म, य, र, ल, व, श, ष, स, ह, त्र, ज्ञ, क्ष, क़, ख़, ग़, ज़, झ़, ड़, ढ़, फ़ (หมวดหมู่: ตัวอักษรภาษาฮินดี) [แก้ไข]
คำกริยา
[แก้ไข]आ (อา)
- การผันรูปของ आना (อานา):
- ต้นเค้าศัพท์
- บุรุษที่สอง เอกพจน์ intimate ปัจจุบันกาล มาลาสั่ง
หมวดหมู่:
- กล่องอักขระที่มีรูปภาพ
- บล็อก Devanagari
- อักขระอักษรเทวนาครี
- คำหลักภาษาร่วม
- ตัวอักษรภาษาร่วม
- ศัพท์ภาษากุรุขที่สืบทอดจากภาษาดราวิเดียนดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษากุรุขที่รับมาจากภาษาดราวิเดียนดั้งเดิม
- คำหลักภาษากุรุข
- คำกำหนดภาษากุรุข
- คำหลักภาษาคุชราตเก่า
- คำสรรพนามภาษาคุชราตเก่า
- คำกำหนดภาษาคุชราตเก่า
- ศัพท์ภาษาเนปาลที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเนปาล
- ตัวอักษรภาษาเนปาล
- รูปผันภาษาเนปาล
- รูปผันคำกริยาภาษาเนปาล
- ศัพท์ภาษามราฐีที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษามราฐีที่มีลิงก์เสียง
- คำหลักภาษามราฐี
- ตัวอักษรภาษามราฐี
- ศัพท์ภาษามัลดีฟส์ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษามัลดีฟส์
- ตัวอักษรภาษามัลดีฟส์
- ภาษามัลดีฟส์ terms in nonstandard scripts
- ศัพท์ภาษาเศรปาที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเศรปา
- ตัวอักษรภาษาเศรปา
- ศัพท์ภาษาสันสกฤตที่สืบทอดจากภาษาอินโด-อิเรเนียนดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาสันสกฤตที่รับมาจากภาษาอินโด-อิเรเนียนดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาสันสกฤตที่สืบทอดจากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาสันสกฤตที่รับมาจากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาสันสกฤตที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาสันสกฤต
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาสันสกฤต
- ภาษาสันสกฤต terms with non-redundant manual transliterations
- คำปัจฉบทภาษาสันสกฤต
- คำบุพบทภาษาสันสกฤต
- คำกังขาบทภาษาสันสกฤต
- สันสกฤต terms with quotations
- ศัพท์ภาษาฮินดีที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาฮินดีที่มีลิงก์เสียง
- คำหลักภาษาฮินดี
- ตัวอักษรภาษาฮินดี
- ภาษาฮินดี terms with non-redundant manual transliterations
- รูปผันภาษาฮินดี
- รูปผันคำกริยาภาษาฮินดี