ปฏิภาณ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ปะ-ติ-พาน | [เสียงสมาส] ปะ-ติ-พา-นะ- | [เสียงสมาส] ปะ-ติ-พาน-นะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bpà-dtì-paan | bpà-dtì-paa-ná- | bpà-dtì-paan-ná- |
ราชบัณฑิตยสภา | pa-ti-phan | pa-ti-pha-na- | pa-ti-phan-na- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pa˨˩.ti˨˩.pʰaːn˧/(ส) | /pa˨˩.ti˨˩.pʰaː˧.na˦˥./ | /pa˨˩.ti˨˩.pʰaːn˧.na˦˥./ |
คำนาม[แก้ไข]
ปฏิภาณ
ภาษาบาลี[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
ปฏิ + ภาณ หรือ ปฏิ + ภณฺ + ณ
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
เขียนด้วยอักษรอื่น
- ปะฏิภาณะ (อักษรไทย)
- 𑀧𑀝𑀺𑀪𑀸𑀡 (ปฏิภาณ) (อักษรพราหมี)
- पटिभाण (ปฏิภาณ) (อักษรเทวนาครี)
- পটিভাণ (ปฏิภาณ) (อักษรเบงกอล)
- පටිභාණ (ปฏิภาณ) (อักษรสิงหล)
- ပဋိဘာဏ (ปฏิภาณ) หรือ ပꩦိꧤႃꧣ (ปฏิภๅณ) (อักษรพม่า)
- ᨷᨭᩥᨽᩣᨱ (ปฏิภาณ) (อักษรไทธรรม)
- ປຏິຠາຓ (ปฏิภาณ) หรือ ປະຏິຠາຓະ (ปะฏิภาณะ) (อักษรลาว)
- បដិភាណ (ปฏิภาณ) (อักษรเขมร)
- paṭibhāṇa (อักษรละติน)
คำนาม[แก้ไข]
ปฏิภาณ ก.
- ไหวพริบ, ความสามารถพูดโต้ตอบได้ฉับไว, ความเฉียบแหลม, ความแจ่มแจ้ง
การผันรูป[แก้ไข]
ตารางการผันรูปของ "ปฏิภาณ" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ปฏิภาณํ | ปฏิภาณานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | ปฏิภาณํ | ปฏิภาณานิ |
กรณการก (ตติยา) | ปฏิภาเณน | ปฏิภาเณหิ หรือ ปฏิภาเณภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ปฏิภาณสฺส หรือ ปฏิภาณาย หรือ ปฏิภาณตฺถํ | ปฏิภาณานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ปฏิภาณสฺมา หรือ ปฏิภาณมฺหา หรือ ปฏิภาณา | ปฏิภาเณหิ หรือ ปฏิภาเณภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ปฏิภาณสฺส | ปฏิภาณานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ปฏิภาณสฺมิํ หรือ ปฏิภาณมฺหิ หรือ ปฏิภาเณ | ปฏิภาเณสุ |
สัมโพธนาการก (อาลปนะ) | ปฏิภาณ | ปฏิภาณานิ |
หมวดหมู่:
- ภาษาไทย:ยืมจากภาษาบาลี
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 4 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ฏ
- ไทย terms with redundant head parameter
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมอุปสรรค ปฏิ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ณ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย