ข้ามไปเนื้อหา

แก้

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: แก, แก่, และ แก๋

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์แก้
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgɛ̂ɛ
ราชบัณฑิตยสภาkae
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kɛː˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

แก้

  1. ชื่อเบี้ยตัวโต ๆ สำหรับขัดผ้านุ่งให้ผิวเป็นมัน
    ผ้าลายเรียกว่า เบี้ยอีแก้ หรือ เบี้ยแก้ใหญ่
ลูกคำ
[แก้ไข]

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *keːꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC keaX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແກ້ (แก้), ภาษาไทลื้อ ᦶᦂᧉ (แก้), ภาษาไทดำ ꪵꪀ꫁ (แก้), ภาษาไทใหญ่ ၵႄႈ (แก้), ภาษาอาหม 𑜀𑜦𑜧 (เก), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gej

คำกริยา

[แก้ไข]

แก้ (คำอาการนาม การแก้)

  1. ทำให้คลายจากลักษณะที่แน่นที่ติดขัดหรือที่เป็นเงื่อนเป็นปมอยู่
    แก้ปม
    แก้เงื่อน
  2. ทำให้หลุดให้พ้นไป
    แก้คดี
  3. ทำให้ดีขึ้น, ทำให้ใช้การได้, ทำส่วนที่เสียให้คืนดีอย่างเดิม, ดัดแปลงให้ดีขึ้น, แก้ไข ก็ว่า
    แก้นาฬิกา
    แก้เครื่องจักร
  4. ทำให้หาย
    แก้เก้อแก้ขวย
    แก้จน
    แก้โรค
  5. เฉลย, อธิบายให้เข้าใจ
    แก้ปัญหา
    แก้กระทู้
  6. ร้องเพลงหรือลำตัดเป็นต้นโต้ตอบกัน
  7. เอากลับคืนมาให้ได้
    ไปตีแก้เอาเมืองคืน
ลูกคำ
[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]