ผิว
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 膚 (MC pju); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨹᩥ᩠ᩅ (ผิว), ภาษาลาว ຜິວ (ผิว), ภาษาไทลื้อ ᦕᦲᧁ (ผีว), ภาษาไทใหญ่ ၽိဝ် (ผิว), ภาษาไทใต้คง ᥚᥤᥝᥴ (ผี๋ว), ภาษาพ่าเก ၸိဝ် (ผิว์)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ผิว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pǐu |
ราชบัณฑิตยสภา | phio | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰiw˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ผิว
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ส่วนที่เป็นพื้นหุ้มอยู่ภายนอกสุดของหนังและเปลือกเป็นต้น
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ผิ-วะ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pì-wá |
ราชบัณฑิตยสภา | phi-wa | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰi˨˩.waʔ˦˥/(สัมผัส) |
คำสันธาน
[แก้ไข]ผิว
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/iw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- อังกฤษ translations
- สัมผัส:ภาษาไทย/aʔ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำสันธานภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- th:กายวิภาคศาสตร์