ผึ้ง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 蜂 (MC phjowng); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เผิ้ง, ภาษาลาว ເຜິ້ງ (เผิ้ง) หรือ ເຜີ້ງ (เผี้ง), ภาษาคำเมือง ᨹᩮᩥ᩠᩶ᨦ (เผิ้ง), ภาษาเขิน ᨹᩨ᩠᩶ᨦ (ผื้ง), ภาษาไทลื้อ ᦕᦹᧂᧉ (ผื้ง), ภาษาไทดำ ꪹꪠꪷ꫁ꪉ (เฝํ้ง), ภาษาไทใหญ่ ၽိုင်ႈ (ผึ้ง), ภาษาไทใต้คง ᥚᥪᥒᥲ (ผื้ง), ภาษาอาหม 𑜇𑜢𑜤𑜂𑜫 (ผึง์), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง paengj (ผั้ง) (Jingxi)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | พึ่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pʉ̂ng |
ราชบัณฑิตยสภา | phueng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰɯŋ˥˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | พึ่ง |
คำนาม
[แก้ไข]ผึ้ง (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อแมลงหลายชนิดในวงศ์ Apidae มีปีกบางใส ๒ คู่ ปีกคู่หลังเล็กกว่าปีกคู่หน้า ปากใช้ทั้งกัดอาหารและดูดกินของเหลวได้ ท้องปล้องแรกที่ติดกับอกเล็กมาก ปล้องที่ ๒ มีขนาดไล่เลี่ยกัน ปล้องที่เหลือมีขนาดไล่เลี่ยกับอก ยกเว้นปล้องสุดท้ายที่มีขนาดเล็กกว่ามีขนปกคลุมตามลำตัว รวมตัวอยู่เป็นฝูง แบ่งชั้นวรรณะ เก็บเกสรและน้ำหวานดอกไม้มาทำน้ำผึ้ง
คำพ้องความ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- Pages with entries
- Pages with 1 entry
- Pages with nonstandard language headings
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l