พาหุ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี พาหุ, จากภาษาสันสกฤต बाहु (พาหุ)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | พา-หุ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | paa-hù |
ราชบัณฑิตยสภา | pha-hu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰaː˧.huʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]พาหุ
- (ภาษาหนังสือ, ร้อยกรอง, ราชาศัพท์) แขน
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมรากกับ พาหา
คำนาม
[แก้ไข]พาหุ ช. หรือ ญ.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "พาหุ" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | พาหุ | พาหโว หรือ พาหู |
กรรมการก (ทุติยา) | พาหุํ | พาหโว หรือ พาหู |
กรณการก (ตติยา) | พาหุนา | พาหูหิ หรือ พาหูภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | พาหุสฺส หรือ พาหุโน | พาหูนํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | พาหุสฺมา หรือ พาหุมฺหา | พาหูหิ หรือ พาหูภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | พาหุสฺส หรือ พาหุโน | พาหูนํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | พาหุสฺมิํ หรือ พาหุมฺหิ | พาหูสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | พาหุ | พาหเว หรือ พาหโว |
ตารางการผันรูปของ "พาหุ" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | พาหุ | พาหุโย หรือ พาหู |
กรรมการก (ทุติยา) | พาหุํ | พาหุโย หรือ พาหู |
กรณการก (ตติยา) | พาหุยา | พาหูหิ หรือ พาหูภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | พาหุยา | พาหูนํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | พาหุยา | พาหูหิ หรือ พาหูภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | พาหุยา | พาหูนํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | พาหุยา หรือ พาหุยํ | พาหูสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | พาหุ | พาหุโย หรือ พาหู |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- สัมผัส:ภาษาไทย/uʔ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ราชาศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่ร่วมราก
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย