อนามิกา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต अनामिका (อนามิกา, “[นิ้ว]ไร้ชื่อ; นิ้วนาง”), จากภาษาบาลี อนามิกา (“[นิ้ว]ไร้ชื่อ; นิ้วนาง”)
รากศัพท์
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อะ-นา-มิ-กา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | à-naa-mí-gaa |
ราชบัณฑิตยสภา | a-na-mi-ka | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔa˨˩.naː˧.mi˦˥.kaː˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]อนามิกา
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]อนามิก + อา หรือ อ + นามิกา หรือ น + นามิกา หรือ อ + นามิก + อา หรือ น + นามิก + อา หรือ อ + นาม + อิก + อา หรือ น + นาม + อิ + ก (“ก สกรรถ”) + อา; อนามิก/อนามิกา เป็น น นิบาตพหุพพิหิสมาส
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) anāmikā
- (อักษรพราหมี) 𑀅𑀦𑀸𑀫𑀺𑀓𑀸 (อนามิกา)
- (อักษรเทวนาครี) अनामिका (อนามิกา)
- (อักษรเบงกอล) অনামিকা (อนามิกา)
- (อักษรสิงหล) අනාමිකා (อนามิกา)
- (อักษรพม่า) အနာမိကာ (อนามิกา) หรือ ဢၼႃမိၵႃ (อนามิกา)
- (อักษรไทย) อะนามิกา
- (อักษรไทธรรม) ᩋᨶᩣᨾᩥᨠᩣ (อนามิกา)
- (อักษรลาว) ອນາມິກາ (อนามิกา) หรือ ອະນາມິກາ (อะนามิกา)
- (อักษรเขมร) អនាមិកា (อนามิกา)
- (อักษรจักมา)
คำนาม
[แก้ไข]อนามิกา ญ.
- ...ที่ไม่มีชื่อ
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]อนามิกา
- คู่ศัพท์เพศหญิงของ อนามิก
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "อนามิกา" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | อนามิกา | อนามิกาโย หรือ อนามิกา |
กรรมการก (ทุติยา) | อนามิกํ | อนามิกาโย หรือ อนามิกา |
กรณการก (ตติยา) | อนามิกาย | อนามิกาหิ หรือ อนามิกาภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | อนามิกาย | อนามิกานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | อนามิกาย | อนามิกาหิ หรือ อนามิกาภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | อนามิกาย | อนามิกานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | อนามิกาย หรือ อนามิกายํ | อนามิกาสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | อนามิเก | อนามิกาโย หรือ อนามิกา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 4 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย อา
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมอุปสรรค อ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมอุปสรรค น
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย อิก
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมหน่วยคำเติมเชื่อม อิ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ก (ก สกรรถ)
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย
- รูปผันภาษาบาลี
- รูปผันคำคุณศัพท์ภาษาบาลี