เกาเหลา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
- (คำนามความหมายที่ 1-2) ภาษาจีน 高樓 (ซุปข้น)
- (คำกริยาความหมายที่ 1) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นผู้ใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2537 เพื่อบรรยายความสัมพันธ์ระหว่างนายธานินทร์ นิมมานเหมินท์ กับนายศุภชัย พานิชภักดิ์ ซึ่งเป็นรัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านเศรษฐกิจ[1]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | เกา–เหฺลา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gao–lǎo |
ราชบัณฑิตยสภา | kao–lao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kaw˧.law˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม[แก้ไข]
เกาเหลา
- แกงมีลักษณะอย่างแกงจืด
- ก๋วยเตี๋ยวไม่ใส่เส้น[1]
- ขอก๋วยเตี๋ยวเป็ด ๑ เกาเหลาลูกชิ้น ๑ เกาเหลาราดหน้า ๑
- ส้มตำไม่มีเส้นมะละกอหรือเส้นอื่นๆ
คำกริยา[แก้ไข]
เกาเหลา
- (ภาษาปาก, สแลง) ไม่ถูกกัน, ไม่กินเส้น[1]
- คู่นี้เขาเกาเหลากันอยู่ ถ้าจะให้มาช่วยงานคงต้องเลือกคนใดคนหนึ่ง
คำพ้องความ[แก้ไข]
อ้างอิง[แก้ไข]
- ↑ 1.0 1.1 1.2 พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม ๒ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 11-12.