เซ็ง
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เซ้ง
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เซ็ง | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | seng |
ราชบัณฑิตยสภา | seng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /seŋ˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากแต้จิ๋ว 清 (cêng1, “ใส; บริสุทธิ์; สะอาด”) โดยใช้บรรยายรสชาติเป็น รสใส รสอ่อน รสไม่จัด จืดชืด[1]
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]เซ็ง (คำอาการนาม ความเซ็ง)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]เซ็ง
- รูปที่สะกดผิดของ เซ้ง
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ พิรัชพร อึ้งอรุณ, เมธาวี ยุทธพงษ์ธาดา, และโกวิทย์ พิมพวง. (2562). “เซ็ง” จากอาหารสู่อารมณ์. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562). กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/eŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาแต้จิ๋ว
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาแต้จิ๋ว
- แต้จิ๋ว terms with non-redundant manual transliterations
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ◌็
- ไทย entries with incorrect language header
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดผิด