เสิก
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เสก
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | เสิ็ก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sə̀k |
ราชบัณฑิตยสภา | soek | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɤk̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เสิก
- รูปที่เลิกใช้ของ ศึก
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *sɤkᴰ¹ˢ (“ศัตรู; สงคราม”)[1], จากภาษาจีนเก่า 賊 (OC *zɯːɡ, “โจร”)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ศึก, ภาษาคำเมือง ᩈᩮᩥᩢ᩠ᨠ (เสิัก), ภาษาลาว ເສິກ (เสิก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉᦲᧅ (เสีก), ภาษาไทใหญ่ သိုၵ်း (สึ๊ก), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜤𑜀𑜫 (สึก์)
คำนาม
[แก้ไข]เสิก
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า *សិក (*สิก); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร សឹក (สึก), ภาษาไทย สึก, ภาษาไทลื้อ ᦉᦹᧅ (สืก)
คำกริยา
[แก้ไข]เสิก (คำอาการนาม การเสิก)
- สึก (ออกจากการเป็นพระ)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ 1.0 1.1 Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɤk̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- รูปที่เลิกใช้ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาอีสานที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาอีสานที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาอีสานที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน
- ศัพท์ภาษาอีสานที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาอีสานที่รับมาจากภาษาเขมรเก่า
- คำกริยาภาษาอีสาน