ไต้

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ไต, ไต่, และ ไต๋

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໄຕ້ (ไต้), ภาษาไทลื้อ ᦺᦎᧉ (ไต้), ภาษาไทใหญ่ တႆႈ (ไต้)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ต้าย
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtâai
ราชบัณฑิตยสภาtai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/taːj˥˩/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงใต้
ไฟล์เสียง

คำนาม[แก้ไข]

ไต้ (คำลักษณนาม ลูก or ลำ or เล่ม)

  1. เชื้อเพลิงสำหรับจุดให้สว่าง ทำด้วยไม้ผุคลุกน้ำมันยางหรือชัน ห่อด้วยเปลือกเสม็ดหรือเตยป่า เป็นต้น ทำเป็นเล่มยาว ๆ ใช้ตอกมัดเป็นเปลาะ ๆ หรือใส่กระบอก, ถ้ามัดตอนปลายด้านหนึ่งเป็นหาง เรียกว่า ไต้หาง, เรียกส่วนเนื้อของไต้ที่แบ่งเอามาใช้เป็นเชื้อไฟ หรือส่วนของไต้ที่จุดและเขี่ยให้ร่วงหล่นลงมาว่า ขี้ไต้

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ไต้

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨴᩱ᩵ (ไท่)