ไฮ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ไฮ่ และ ไฮ้

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ไฮ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhai
ราชบัณฑิตยสภาhai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/haj˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩁᩱ (ไร), ภาษาอีสาน ไฮ, ภาษาลาว ໄຮ (ไฮ), ภาษาไทใหญ่ ႁႆး (ไห๊), ภาษาไทใต้คง ᥞᥭᥰ (หั๊ย), ภาษาพ่าเก ꩭႝ (หย์), ภาษาอาหม 𑜍𑜩 (รย์)

ภาษาไทยสมัยใหม่ควรมีคำว่า *ไร แต่ถูกแทนที่ด้วย ไทร ซึ่งมาจากมอญ-เขมร

คำนาม[แก้ไข]

ไฮ

  1. (โบราณ, เลิกใช้) ไทร
ดูเพิ่ม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ high

คำกริยา[แก้ไข]

ไฮ

  1. (ภาษาปาก) อาการเคลิบเคลิ้มหรือเมาหลังจากเสพยา

ภาษาชอง[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาไทย ไห

คำนาม[แก้ไข]

ไฮ

  1. ไห

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *rajᴬ⁴, จากภาษาไทดั้งเดิม *rwɤjᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ไร, ภาษาคำเมือง ᩁᩱ (ไร), ภาษาเขิน ᩁᩱ (ไร), ภาษาลาว ໄຮ (ไฮ), ภาษาไทลื้อ ᦺᦣ (ไฮ), ภาษาไทใหญ่ ႁႆး (ไห๊), ภาษาไทใต้คง ᥞᥭᥰ (หั๊ย), ภาษาพ่าเก ꩭႝ (หย์), ภาษาอาหม 𑜍𑜩 (รย์), ภาษาจ้วง reiz

คำนาม[แก้ไข]

ไฮ

  1. ไร (สัตว์)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ไฮ, ภาษาคำเมือง ᩁᩱ (ไร), ภาษาลาว ໄຮ (ไฮ), ภาษาไทใหญ่ ႁႆး (ไห๊), ภาษาไทใต้คง ᥞᥭᥰ (หั๊ย), ภาษาพ่าเก ꩭႝ (หย์), ภาษาอาหม 𑜍𑜩 (รย์)

คำนาม[แก้ไข]

ไฮ

  1. ไทร