ຍ່ຽວ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *niəwᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 尿 (MC newH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เยี่ยว, ภาษาคำเมือง ᨿ᩠ᨿ᩵ᩅ (ยย่ว), ภาษาไทลื้อ ᦵᦍᧁᧈ (เย่ว), ภาษาไทดำ ꪹꪑꪸ꪿ꪫ (เญย่̂ว) หรือ ꪵꪙ꪿ꪫ (แน่ว), ภาษาไทขาว ꪵꪙꪫꫀ, ภาษาไทใหญ่ ယဵဝ်ႈ (เย้ว), ภาษาอาหม 𑜊𑜢𑜈𑜫 (ยิว์), ภาษาจ้วง nyouh, ภาษาจ้วงแบบหนง nyuh, ภาษาแสก หญู้
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ɲiːə̯w˧]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ɲiːə̯w˧˨]
- การแบ่งพยางค์: ຍ່ຽວ
- สัมผัส: -iːə̯w
คำนาม
[แก้ไข]ຍ່ຽວ • (ย่ย̂ว)
คำพ้องความ
[แก้ไข]เยี่ยว
คำกริยา
[แก้ไข]ຍ່ຽວ • (ย่ย̂ว) (คำอาการนาม ການຍ່ຽວ)
- (อกรรม) เยี่ยว
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/iːə̯w
- คำหลักภาษาลาว
- คำนามภาษาลาว
- คำกริยาภาษาลาว
- คำอกรรมกริยาภาษาลาว
- lo:สารน้ำในร่างกาย