เยี่ยว
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เยียว
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เยี่ยว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | yîao |
ราชบัณฑิตยสภา | yiao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /jia̯w˥˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *niəwᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 尿 (MC newH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຍ່ຽວ (ย่ย̂ว), ภาษาคำเมือง ᨿ᩠ᨿ᩵ᩅ (ยย่ว), ภาษาเขิน ᨿ᩠ᨿ᩵ᩴ (ยย่ํ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦍᧁᧈ (เย่ว), ภาษาไทดำ ꪹꪑꪸ꪿ꪫ (เญย่̂ว) หรือ ꪵꪙ꪿ꪫ (แน่ว), ภาษาไทขาว ꪵꪙꪫꫀ, ภาษาไทใหญ่ ယဵဝ်ႈ (เย้ว), ภาษาอาหม 𑜊𑜢𑜈𑜫 (ยิว์), ภาษาจ้วง nyouh, ภาษาจ้วงแบบหนง nyuh, ภาษาแสก หญู้
คำนาม
[แก้ไข]เยี่ยว
คำกริยา
[แก้ไข]เยี่ยว (คำอาการนาม การเยี่ยว)
- ถ่ายปัสสาวะ, เบา
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:เยี่ยว
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]แผลงมาจาก เยี่ยม
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]เยี่ยว
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ia̯w
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย