ເຈົ້າ
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ເຈົ່າ
ภาษาลาว
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 主 (MC tsyuX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เจ้า, ภาษาคำเมือง ᨧᩮᩢ᩶ᩣ (เจั้า), ภาษาไทลื้อ ᦈᧁᧉ (เจ้า), ภาษาไทดำ ꪹꪊ꫁ꪱ (เจ้า), ภาษาไทใหญ่ ၸဝ်ႈ (จ้ว), ภาษาอาหม 𑜋𑜈𑜫 (ฉว์) หรือ 𑜋𑜨𑜧 (ฉอ̂ว์); การใช้คำนี้เป็นคำรับเกิดขึ้นหลัง พ.ศ. 2518 ซึ่งรัฐบาลลาวได้เปลี่ยนระบอบการปกครอง ก่อนหน้านี้มักใช้เพียงแค่ ໂດຍ (โดย) ซึ่งมีความเกี่ยวพันกับคำว่า ຂ້ານ້ອຍ (ข้าน้อย) เป็นคำรับที่สุภาพ (Enfield, 1999, p. 274)[1]
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [t͡ɕaw˥˨]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [t͡ɕaw˧˦]
- การแบ่งพยางค์: ເຈົ້າ
- สัมผัส: -aw
คำนาม
[แก้ไข]ເຈົ້າ • (เจ็้า)
- เจ้า (ผู้เป็นใหญ่)
คำสรรพนาม
[แก้ไข]ເຈົ້າ • (เจ็้า)
คำอนุภาค
[แก้ไข]ເຈົ້າ • (เจ็้า)
คำพ้องความ
[แก้ไข]คำรับ
- ໂດຍ (โดย)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Enfield, N. J. (1999). Lao as a national language. In G. Evans. (Ed.), Laos: Culture and society (pp. 258-290). Silkworm Books.