เจ้า
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 主 (MC tsyuX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨧᩮᩢ᩶ᩣ (เจั้า), ภาษาลาว ເຈົ້າ (เจ็้า), ภาษาไทลื้อ ᦈᧁᧉ (เจ้า), ภาษาไทดำ ꪹꪊ꫁ꪱ (เจ้า), ภาษาไทใหญ่ ၸဝ်ႈ (จ้ว), ภาษาอาหม 𑜋𑜈𑜫 (ฉว์) หรือ 𑜋𑜨𑜧 (ฉอ̂ว์)
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:parameters บรรทัดที่ 92: Parameter 1 should be a valid language or etymology language code; the value "ล้าสมัย" is not valid. See WT:LOL and WT:LOL/E. จ้าว
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | จ้าว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jâao |
ราชบัณฑิตยสภา | chao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕaːw˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เจ้า
- ผู้เป็นใหญ่, ผู้เป็นหัวหน้า
- เจ้านคร
- เชื้อสายของพระมหากษัตริย์นับตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป และผู้ได้รับสถาปนาอิสริยยศขึ้นเป็นเจ้า, บางแห่งหมายถึงกษัตริย์ก็มี
- เจ้ากรุงจีน
- คำนำหน้าชื่อเพื่อแสดงว่าเป็นเชื้อสายเจ้านายฝ่ายเหนือ
- เจ้าดวงเดือน
- (โบราณ, ภาษาปาก) คำนำหน้าพระนามของพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้า
- เจ้าต๋ง
- หม่อมเจ้า...ปราโมช
- ผู้เป็นเจ้าของ
- เจ้าทรัพย์
- เจ้าหนี้
- ผู้ชำนาญ
- เจ้าปัญญา
- เจ้าความคิด
- เจ้าบทเจ้ากลอน
- มักใช้เติมท้ายคำเรียกผู้ที่นับถือ
- พระพุทธเจ้า
- เทพเจ้า
- เทพารักษ์
- เจ้าพ่อหลักเมือง
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ผู้เป็นหัวหน้า
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เจ้า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jâo |
ราชบัณฑิตยสภา | chao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕaw˥˩/(สัมผัส) |
คำสรรพนาม
[แก้ไข]เจ้า
- คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย สำหรับผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อยอย่างสุภาพหรือเอ็นดู, เป็นสรรพนามบุรุษที่ 2
- เจ้ามานี่
- คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ 3, มักใช้เข้าคู่กับคำ นั่น เป็น เจ้านั่น
- เจ้านั่นจะไปด้วยหรือเปล่า
คำนาม
[แก้ไข]เจ้า
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | จ้าว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jâao |
ราชบัณฑิตยสภา | chao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕaːw˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เจ้า
คำลักษณนาม
[แก้ไข]เจ้า
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]สรรพนามบุรุษภาษาไทยเดิม
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕaw˦˦ʔ/
คำอนุภาค
[แก้ไข]เจ้า
- อีกรูปหนึ่งของ ᨧᩮᩢ᩶ᩣ (เจั้า)
ภาษาทะวืง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /câ̰w/
คำสรรพนาม
[แก้ไข]เจ้า
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (ขอนแก่น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕaw˨˧˩/
คำสรรพนาม
[แก้ไข]เจ้า
- อีกรูปหนึ่งของ เจ่า
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- อังกฤษ translations
- สัมผัส:ภาษาไทย/aw
- คำสรรพนามภาษาไทย
- คำลักษณนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำอนุภาคภาษาคำเมือง
- คำอนุภาคภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาทะวืงที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาทะวืง
- คำสรรพนามภาษาทะวืง
- ศัพท์ภาษาอีสานที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำสรรพนามภาษาอีสาน