รา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | รา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | raa |
ราชบัณฑิตยสภา | ra | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /raː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]รา
- ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด
- ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน เรียกว่า ราคอเสา
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]รา
- ชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มีคลอโรฟิลล์ ส่วนมากเจริญเป็นเส้นใย แบ่งเป็น 2 พวก คือ ราเมือก และ ราแท้ แพร่พันธุ์โดยสปอร์ อาศัยอยู่บนซากของพืชหรือสัตว์ ขึ้นเบียนหรืออยู่ร่วมกับพืชอื่นก็มี
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]รา (คำอาการนาม การรา)
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]คำอนุภาค
[แก้ไข]รา
รากศัพท์ 5
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *raːᴬ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩁᩣ (รา), ภาษาเขิน ᩁᩣ (รา), ภาษาลาว ຮາ (ฮา), ภาษาไทลื้อ ᦣᦱ (ฮา), ภาษาไทใหญ่ ႁႃး (ห๊า), ภาษาไทใต้คง ᥞᥣᥰ (ห๊า), ภาษาอาหม 𑜍𑜠 (ระ), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง raz
คำสรรพนาม
[แก้ไข]รา
- (โบราณ) เราทั้งคู่, เขาทั้งคู่, ในคำว่า สองรา, ต่อมาใช้หมายถึงเกิน 2 ก็ได้
- เร่งหาประกันมาทันใด ผู้คุมเหวยรับไว้ทั้งสามรา(ขุนช้างขุนแผน)
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- การร้องขอรากศัพท์ในรายการภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่ล้าสมัย
- คำอนุภาคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- คำสรรพนามภาษาไทย