ท้อง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ทอง, ท็อฺง, ท่อง, และ ท๋อง

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *dwuːŋꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ท้อง, ภาษาลาว ທ້ອງ (ท้อง), ภาษาคำเมือง ᨴᩬ᩶ᨦ (ทอ้ง), ภาษาไทลื้อ ᦑᦸᧂᧉ (ท้อ̂ง), ภาษาไทดำ ꪕ꫁ꪮꪉ (ต้̱อง), ภาษาไทใหญ่ တွင်ႉ (ต๎อ̂ง), ภาษาจ้วง dungx, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง tongx

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ท้อง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtɔ́ɔng
ราชบัณฑิตยสภาthong
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰɔːŋ˦˥/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

ท้อง

  1. ส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่จนถึงบริเวณต้นขา มีสะดืออยู่ตรงกลาง มีกระเพาะและไส้พุงอยู่ภายใน
  2. ครรภ์
    น้องร่วมท้อง
  3. พื้นที่หรือบริเวณที่กว้างใหญ่
    ท้องน้ำ
    ท้องฟ้า
    ท้องทุ่ง
    ท้องไร่
    ท้องนา
    ท้องถนน
  4. ส่วนที่มีลักษณะโค้ง
    ท้องแขน
    ท้องน่อง
    ท้องเรือ
    ท้องร่อง

คำกริยา[แก้ไข]

ท้อง (คำอาการนาม การท้อง)

  1. (ภาษาปาก) มีลูกอยู่ในท้อง, ตั้งครรภ์

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

ภาษาญ้อ[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ท้อง

  1. ท้อง