ตู
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตู | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtuu |
ราชบัณฑิตยสภา | tu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tuː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨲᩪ (ตู), ลาว ຕູ (ตู), ไทใหญ่ တူ (ตู),จ้วงแบบจั่วเจียง du, จ้วง dou
คำสรรพนาม
[แก้ไข]ตู
- (โบราณ) สรรพนามบุรุษพหูพจน์ที่ 1 (ไม่รวมบุคคลที่ 2)
- ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงโสง
- ตูสามคนจะไปกินเข้าด้วยกัน
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]สรรพนามบุรุษภาษาไทยเดิม
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *tuːᴬ (“ประตู”); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨲᩪ (ตู) (เก่า) หรือ ᨸᨲᩪ (ปตู) (ใหม่), ปักษ์ใต้ ตู, ลาว ປະຕູ (ปะตู), ไทใหญ่ တူ (ตู), ปู้อี dul, จ้วง dou หรือ du
คำนาม
[แก้ไข]ตู
ภาษาปักษ์ใต้
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ตู
คำพ้องความ
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]- “ตู” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 14
ภาษาเลอเวือะตะวันออก
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /tu/
คำนาม
[แก้ไข]ตู
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/uː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำสรรพนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำนามภาษาไทย
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำนามภาษาปักษ์ใต้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาปักษ์ใต้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาปักษ์ใต้/l
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเลอเวือะตะวันออก
- คำนามภาษาเลอเวือะตะวันออก