ประตู
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เป็นไปได้ว่ากร่อนมาจาก ปาก + ตู ซึ่งคำหลังมาจากไทดั้งเดิม *tuːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨲᩪ (ตู) (เก่า) หรือ ᨸᨲᩪ (ปตู) (ใหม่), ปักษ์ใต้ ตู, ลาว ປະຕູ (ปะตู), ไทใหญ่ တူ (ตู), ปู้อี dul, จ้วง dou หรือ du
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ปฺระ-ตู | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bprà-dtuu |
ราชบัณฑิตยสภา | pra-tu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pra˨˩.tuː˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ประตู (คำลักษณนาม ประตู หรือ บาน)
- ช่องทางเข้าออกของบ้านเรือนเป็นต้น มีบานเปิดปิดได้
- ประตูบ้าน
- ประตูเมือง
- ช่อง, ทาง
- ไม่มีประตูสู้
- (ในเชิงเปรียบเทียบ) สิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น
- ประตูฟุตบอล
- ประตูรักบี้
- ช่องหรือโอกาสที่จะได้หรือเสียในการเล่นการพนันบางชนิด อย่างถั่ว โป ไฮโล น้ำเต้า
- ถูกประตูเดียว
- กิน 3 ประตู
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ช่องทางเข้าออกของบ้านเรือน
คำลักษณนาม
[แก้ไข]ประตู
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- คำประสมภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/uː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำลักษณนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ประตู
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม บาน
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาดัตช์
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาทิเบต
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฟรีเชียตะวันตก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสเปน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ