ช่อง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɟoːŋᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩᩬ᩵ᨦ (ชอ่ง), ภาษาเขิน ᨩᩬ᩵ᨦ (ชอ่ง), ภาษาอีสาน ซ่อง, ภาษาลาว ຊ່ອງ (ซ่อง), ภาษาไทลื้อ ᦋᦸᧂᧈ (ช่อ̂ง), ภาษาไทขาว ꪋꪮꪉꫀ, ภาษาไทใหญ่ ၸွင်ႈ (จ้อ̂ง), ภาษาอาหม 𑜋𑜨𑜂𑜫 (ฉอ̂ง์), ภาษาจ้วง congh; เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ ซ่อง
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | ช็่อง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chɔ̂ng |
ราชบัณฑิตยสภา | chong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰɔŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ช่อง
- ที่ว่างซึ่งเป็นทางเข้าออกได้
- ช่องเขา
- ช่องหน้าต่าง
- ช่องลม
- ที่ว่างซึ่งเป็นที่กำหนดเฉพาะ
- จอดรถให้ตรงช่อง
- ช่องซื้อตั๋ว
- ช่องจ่ายเงิน
- ย่านความถี่ที่ใช้สัญญาณภาพและเสียงที่กำหนดไว้ต่าง ๆ กันตามมาตรฐานการส่งกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์
- (ภาษาปาก) คำเรียกสถานีโทรทัศน์แต่ละสถานี
- ดูละครช่อง 7
- (ภาษาปาก) โอกาส, ช่องทาง
- ไม่มีช่องที่จะทำได้