ต
หน้าตา
|
ภาษาร่วม
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (พยัญชนะต้น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t-/
- (พยัญชนะสะกด) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /-t̚/
ตัวอักษร
[แก้ไข]ต
- พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /t/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /t̪/
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตอ | ตอ-เต่า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtɔɔ | dtɔɔ-dtào |
ราชบัณฑิตยสภา | to | to-tao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tɔː˧/(สัมผัส) | /tɔː˧.taw˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
ตัวอักษร
[แก้ไข]ต
- พยัญชนะตัวที่ 21 เรียกว่า ต เต่า เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น จิต เมตตา ฟุต
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตะ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtà |
ราชบัณฑิตยสภา | ta | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /taʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ต
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
เขียนด้วยอักษรอื่น
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ต
- (สรรพนามระบุเฉพาะ) นั้น
- พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ พ.ศ.๒๕๓๘ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑, พระไตรปิฎก ฉบับหลวง (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑ [301]
- เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ฯ
- สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี
- พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ พ.ศ.๒๕๓๘ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑, พระไตรปิฎก ฉบับหลวง (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑ [301]
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ต" (เพศชาย)
ตารางการผันรูปของ "ตา" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | สา | ตา |
กรรมการก (ทุติยา) | ตํ | ตา |
กรณการก (ตติยา) | ตาย | ตาหิ หรือ ตาภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ตาย หรือ ตสฺสา หรือ ติสฺสา หรือ ติสฺสาย | ตาสํ หรือ ตาสานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ตาย | ตาหิ หรือ ตาภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ตาย หรือ ตสฺสา หรือ ติสฺสา หรือ ติสฺสาย | ตาสํ หรือ ตาสานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ตาย หรือ ตายํ หรือ ติสฺสํ | ตาสุ |
ตารางการผันรูปของ "ต" (เพศกลาง)
การใช้
[แก้ไข]The case form ตทฺ is only used before vowels and as the prefixed combining form. Before vowels, the phinthu and leading o ang are dropped.
คำพ้องความ
[แก้ไข]คำแผลง
[แก้ไข]คำสรรพนาม
[แก้ไข]ต ช. หรือ ก.
- (สรรพนามระบุเฉพาะ) สรรพนามบุรุษที่สาม เพศชาย: ท่าน, เขา, นาย, มัน, ผู้นั้น, เป็นต้น
- พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ พ.ศ.๒๕๓๘ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑, พระไตรปิฎก ฉบับหลวง (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑ [1]
- อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ
- อย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์แม้เพราะเหตุนี้ ทรงตรัสรู้เองโดยชอบแม้เพราะเหตุนี้ ทรงบรรลุวิชชาและจรณะแม้เพราะเหตุนี้ เสด็จไปดีแม้เพราะเหตุนี้ ทรงทราบโลกแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลายแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพุทธะแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพระผู้มีพระภาคแม้เพราะเหตุนี้
- พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ พ.ศ.๒๕๓๘ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑, พระไตรปิฎก ฉบับหลวง (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑ [1]
- (สรรพนามระบุเฉพาะ) สรรพนามบุรุษที่สาม เพศกลาง: มัน
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ต" (เพศชาย)
ตารางการผันรูปของ "ต" (เพศกลาง)
การใช้
[แก้ไข]The case form ตทฺ is only used before vowels and as the prefixed combining form. Before vowels, the phinthu and leading o ang are dropped.
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]- ตา ญ. (“สรรพนามบุรุษที่สาม เพศหญิง”)
หมวดหมู่:
- บล็อก Thai
- อักขระอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาร่วมที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาร่วม
- ตัวอักษรภาษาร่วม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- สัมผัส:ภาษาไทย/aw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- ตัวอักษรภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/aʔ
- คำนามภาษาไทย
- Pali terms with inconsistent transliterations
- คำหลักภาษาบาลี
- คำคุณศัพท์ภาษาบาลี
- คำคุณศัพท์ภาษาบาลีในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาบาลี/l
- บาลี links with redundant alt parameters
- บาลี links with manual fragments
- คำสรรพนามภาษาบาลี
- คำสรรพนามภาษาบาลีในอักษรไทย