ข้ามไปเนื้อหา

-

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

- U+002D, -
HYPHEN-MINUS
,
[U+002C]
Basic Latin .
[U+002E]
U+FE63, ﹣
SMALL HYPHEN-MINUS

[U+FE62]
Small Form Variants
[U+FE64]
U+FF0D, -
FULLWIDTH HYPHEN-MINUS

[U+FF0C]
Halfwidth and Fullwidth Forms
[U+FF0E]

ภาษาร่วม

[แก้ไข]

สัญลักษณ์

[แก้ไข]

-

  1. ขีดที่อยู่กึ่งกลาง ซึ่งสามารถใช้แทนได้หลายเครื่องหมายดังนี้
    1. (ยัติภังค์)
    2. (คณิตศาสตร์) การลบ
    3. (ยัติภาคแทนตัวเลข)
    4. (ยัติภาคกว้างเอ็น)
    5. (ยัติภาคกว้างเอ็ม)
    6. (ขีดแนวนอน)
    7. (เคมี) พันธะเดี่ยว

ตัวอักษร

[แก้ไข]
ตัวอักษร T ในรหัสมอร์ส

  1. สัญญาณเคาะยาวของรหัสมอร์ส
  2. การแสดงรหัสมอร์สสำหรับ T (อักษรละติน)
  3. การแสดงรหัสมอร์สสำหรับ Т (อักษรซีริลลิก)

ภาษาไทย

[แก้ไข]
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

ตัวอักษร

[แก้ไข]

  1. การแสดงรหัสมอร์สสำหรับ
  2. การแสดงรหัสมอร์สสำหรับ

ภาษากรีก

[แก้ไข]

ตัวอักษร

[แก้ไข]

  1. การแสดงรหัสมอร์สสำหรับ Τ

ภาษาญี่ปุ่น

[แก้ไข]

ตัวอักษร

[แก้ไข]

  1. การแสดงรหัสมอร์สสำหรับ

ภาษาฟินแลนด์

[แก้ไข]

เครื่องหมายวรรคตอน

[แก้ไข]

-

  1. แบ่งส่วนต่าง ๆ ของคำประสมออกจากกัน
    1. เมื่อคำมูลตัวหน้าลงท้ายด้วยสระ และคำมูลตัวหลังขึ้นต้นด้วยสระตัวเดียวกันนั้น
      linja + autolinja-auto
    2. (ไม่จำเป็น) เมื่อคำมูลตัวหน้าลงท้ายด้วยสระและคำมูลตัวหลังขึ้นต้นด้วยสระ (อาจจะคนละตัว) สามารถใส่เครื่องหมายดังกล่าวได้เพื่อเลี่ยงความกำกวมหรือเพื่อช่วยให้อ่านสะดวกขึ้น
      laulu + iltalauluilta ~ laulu-ilta (เปรียบเทียบกับ lauluilta (รูปผัน elative))
    3. (ไม่จำเป็น)เมื่อคำมูลตัวหน้าลงท้ายด้วยพยัญชนะและคำมูลตัวหลังขึ้นต้นด้วยสระ สามารถใส่เครื่องหมายดังกล่าวได้เพื่อเลี่ยงความกำกวมหรือเพื่อช่วยให้อ่านสะดวกขึ้น
      punos + aitapunosaita ~ punos-aita
    4. ในบางคำประสมที่คำมูลแต่ละคำถูกมองว่า "เท่ากัน"
      parturi + kampaajaparturi-kampaaja
    5. เมื่อหนึ่งในสองคำมูลนั้น
      1. มีการเว้นวรรค (จะเว้นวรรคก่อนใส่เครื่องหมาย - หากคำมูลหน้ามีการเว้นวรรค และในกรณีกลับกันด้วยแต่จะไม่เว้นวรรคในทั้งคู่)
        stand up + koomikkostand up koomikko
      2. เป็นคำวิสามานยนามผันอยู่ในกรรตุการก (เว้นแต่ในกรณีที่คำวิสามานยนามนั้นไม่เขียนเป็นตัวพิมพ์ใหญ่แล้ว) มักพบเจอในคำที่ตัวมันเองไม่ใช่คำวิสามานยนาม
        Suomi + kuvaSuomi-kuva
      3. (ไม่จำเป็น) เป็นคำวิสามานยนามผันอยู่ในสัมพันธการก (เว้นแต่ในกรณีที่คำวิสามานยนามนั้นไม่เขียนเป็นตัวพิมพ์ใหญ่แล้ว) เพื่อความชัดเจนไม่กำกวม
        Saksan + matkaSaksan-matka (ทริปไปประเทศเยอรมนี) (เปรียบเทียบกับ Saksan matka (ทริปไปประเทศเยอรมนี, ทริปของประเทศเยอรมนี))
      4. เป็นคำย่อ อักษรอ่านย่อ หรืออักษรย่อ (ไม่จำเป็นหากว่าอยู่ในส่วนคำมูลตัวหลังและสะกดด้วยตัวพิมพ์เล็ก)
        NATO + jäsenyys → NATO-jäsenyys
      5. เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์
        20 + -vuotias → 20-vuotias
        C + vitamiiniC-vitamiini
      6. เป็นคำอนุภาคหรือคำอื่นที่ทำหน้าที่คล้ายกัน
        ei + toivottuei-toivottu
      7. (ในบางกรณี) เป็นคำยืมที่ยังไม่ปรับเข้ากับหลักการออกเสียงภาษาฟินแลนด์
  2. แสดงการละบางส่วนของคำประสมที่ซ้ำกันในรายชื่อ ("suspended hyphen").
    syntymäaika ja paikka = syntymäaika ja syntymäpaikkaวัน/เวลา (เกิด) และสถานที่เกิด
    mansikka-, mustikka- ja vadelmahillo = mansikkahillo, mustikkahillo ja vadelmahilloแยมสตรอว์เบอร์รี่, (แยม) บิลเบอร์รี่ และ (แยม) ราสเบอร์รี่
  3. ใช้ตามหลักการใส่ยัติภังค์ หรือคำที่แยกอยู่คนละบรรทัด

หมายเหตุการใช้

[แก้ไข]
  • เครื่องหมายวรรคตอนตัวนี้จะเรียกว่า yhdysmerkki, yhdysviiva หรือ väliviiva หากใช้ในบริบทที่เกี่ยวกับคำประสม
  • เครื่องหมายวรรคตอนตัวนี้จะเรียกว่า tavuviiva หากใช้ในบริบทที่ใส่ตามหลักการใส่ยัติภังค์

ภาษาฮีบรู

[แก้ไข]

ตัวอักษร

[แก้ไข]

  1. การแสดงรหัสมอร์สสำหรับ ת