นอน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *nwɯːnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨶᩬᩁ (นอร), ภาษาเขิน ᨶᩬᩁ (นอร), ภาษาลาว ນອນ (นอน), ภาษาไทลื้อ ᦓᦸᧃ (นอ̂น), ภาษาไทดำ ꪙꪮꪙ (นอน), ภาษาไทขาว ꪙꪮꪙ, ภาษาไทใหญ่ ၼွၼ်း (น๊อ̂น), ภาษาไทใต้คง ᥘᥩᥢᥰ (ล๊อ̂น) หรือ ᥢᥩᥢᥰ (น๊อ̂น), ภาษาอ่ายตน ꩫွꩫ် (นอ̂น์), ภาษาพ่าเก ꩫွꩫ် (นอ̂น์), ภาษาอาหม 𑜃𑜨𑜃𑜫 (นอ̂น์), ภาษาจ้วงแบบหนง noanz
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | นอน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nɔɔn |
ราชบัณฑิตยสภา | non | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /nɔːn˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]นอน (คำอาการนาม การนอน)
- เอนตัวลงกับพื้นหรือที่ใด ๆ
- อาการที่สัตว์เอนตัวลงกับพื้นเพื่อพักผ่อนเป็นต้นหรือยืนหลับอยู่กับที่
- อาการที่ทำให้ของสูง ๆ ทอดลง
- เอาเสานอนลง
- อาการที่พรรณไม้บางชนิด เช่น จามจุรี ผักกระเฉด ไมยราบ หลุบใบในเวลาใกล้จะสิ้นแสงตะวัน
- (ภาษาปาก, สแลง) มีเพศสัมพันธ์
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]เอนตัวลงกับพื้นเพื่อพักผ่อน
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]นอน
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- พาลินโดรมภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาพม่า
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสเปน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- พาลินโดรมภาษาคำเมือง
- คำอกรรมกริยาภาษาคำเมือง