ครุ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

จากภาษาเขมร គ្រុះ (คฺรุะ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน คุ, ภาษาลาว ຄຸ (คุ), ภาษาญ้อ คุ

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์คฺรุ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkrú
ราชบัณฑิตยสภาkhru
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰruʔ˦˥/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

ครุ

  1. ภาชนะสานชนิดหนึ่ง รูปกลมเหมือนกะลาตัด ยาชัน มีหูหิ้ว ใช้ตักน้ำ

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี ครุ (หนัก)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์คะ-รุ[เสียงสมาส]
คะ-รุ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงká-rúká-rú-
ราชบัณฑิตยสภาkha-rukha-ru-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰa˦˥.ruʔ˦˥/(สัมผัส)/kʰa˦˥.ru˦˥./

คำนาม[แก้ไข]

ครุ

  1. พยางค์ที่มีเสียงหนักในตำราฉันทลักษณ์ คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงยาวและสระเกิน และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น, เขียนย่อเป็นรูปตีนเหยียด

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ครุ

  1. (ภาษาหนังสือ) หนัก

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี ครุ (ครู)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์คะ-รุ[เสียงสมาส]
คะ-รุ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงká-rúká-rú-
ราชบัณฑิตยสภาkha-rukha-ru-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰa˦˥.ruʔ˦˥/(สัมผัส)/kʰa˦˥.ru˦˥./

คำนาม[แก้ไข]

ครุ

  1. (ภาษาหนังสือ) ครู

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ครุ ช.

  1. ครู

การผันรูป[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ครุ

  1. หนัก

การผันรูป[แก้ไข]