ตอ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *toːᴬ, จากภาษาจีนเก่า 株 (OC *to); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲᩬᩴ (ตอํ), ภาษาลาว ຕໍ (ตํ) หรือ ກະຕໍ (กะตํ), ภาษาไทใหญ่ တေႃ (ตอ̂), ภาษาพ่าเก တေႃ (ตอ̂), ภาษาอาหม 𑜄𑜦𑜡 (ตอ̂) , ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง do (goeg do-กกตอ)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | to | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tɔː˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
คำนาม
[แก้ไข]ตอ
- โคนของต้นไม้ที่ลำต้นถูกตัดหรือหักลงแล้ว
- สิ่งบางอย่างเช่นเสาหรือหลักที่ปักไว้หรือที่ยังเหลืออยู่แต่โคนเมื่อบางส่วนถูกตัด หัก หรือกร่อนไป
ภาษาปักษ์ใต้
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เทียบภาษาหมิ่นใต้ 臭豆/臭豆 (chhàu-tō͘, แปลตามตัวอักษรว่า “ถั่วเหม็น”)
คำนาม
[แก้ไข]ตอ
- สะตอ
- ลูกตอ
- เมล็ดสะตอ
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หมิ่นใต้ links with redundant target parameters
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำนามภาษาปักษ์ใต้
- ศัพท์ภาษาปักษ์ใต้ที่มีตัวอย่างการใช้