หลัก
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
เนื้อหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
- (เลิกใช้) หลกก
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | หฺลัก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | làk |
ราชบัณฑิตยสภา | lak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lak̚˨˩/ |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰlakᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຫຼັກ (หลัก), ภาษาไทลื้อ ᦜᧅ (หฺลัก), ภาษาไทใหญ่ လၵ်း (ลั๊ก), ภาษาอาหม 𑜎𑜀𑜫 (ลก์), ภาษาแสก ลั๊ก
คำนาม[แก้ไข]
หลัก
- เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น
- เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก
- เครื่องหมาย
- หลักเขต
- เครื่องยึดเหนี่ยว
- มีธรรมะเป็นหลักในการดำรงชีวิต
- เครื่องจับยึด
- หลักแจว
- สาระที่มั่นคง
- พูดจาไม่มีหลัก
- หลักกฎหมาย
- หลักเศรษฐศาสตร์
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
หลัก
- ตำแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจำนวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จำนวนหน่วย เลข 2 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนสิบ เลข 3 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนร้อย เลข 4 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนพัน เลข 5 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนหมื่น เลข 6 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนแสน เลข 7 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน
- 987 เป็นจำนวนร้อย, 9 เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง 900, ส่วน 8 เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง 80, และ 7 เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง 7
รากศัพท์ 3[แก้ไข]
จากภาษาสันสกฤต लक्ष (ลกฺษ), จากภาษาบาลี ลกฺข; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร លក្ខ (ลกฺข)
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หลัก
ภาษาอีสาน[แก้ไข]
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หลัก (อาการนาม ความหลัก)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ภาษาไทย:สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ภาษาไทย:ยืมจากภาษาสันสกฤต
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาสันสกฤต
- ภาษาไทย:ยืมจากภาษาบาลี
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาบาลี
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีความหมายโบราณ
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำคุณศัพท์ภาษาอีสาน