มั่น
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | มั่น | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mân |
ราชบัณฑิตยสภา | man | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /man˥˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | หมั้น |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩢ᩶ᩁ (หมั้ร), ภาษาลาว ໝັ້ນ (หมั้น), ภาษาไทลื้อ ᦖᧃᧉ (หฺมั้น), ภาษาไทใหญ่ မၼ်ႈ (มั้น), ภาษาพ่าเก မꩫ် (มน์), ภาษาอาหม 𑜉𑜃𑜫 (มน์) , ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง maenq (หมั่น-แน่น ไม่สั่น)
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) หมั้น
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]มั่น (คำอาการนาม ความมั่น)
คำประสม
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับ ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง maenj (หมั้น-มั่นใจในตนเองมาก เชื่อมาก)
ตัดมาจาก มั่นใจ
คำกริยา
[แก้ไข]มั่น (คำอาการนาม การมั่น)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 2 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต, 2552. หน้า 96.