𑜉𑜃𑜫
ภาษาอาหม
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓaːnꟲ (“หมู่บ้าน”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย บ้าน, ภาษาคำเมือง ᨷ᩶ᩤ᩠ᨶ (บ้าน), ภาษาลาว ບ້ານ (บ้าน), ภาษาไทลื้อ ᦢᦱᧃᧉ (บ้าน), ภาษาไทใหญ่ မၢၼ်ႈ (ม้าน) หรือ ဝၢၼ်ႈ (ว้าน), ภาษาจ้วง mbanj
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- 𑜈𑜃𑜫 (บน์)
คำนาม
[แก้ไข]𑜉𑜃𑜫 • (มน์)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *manᴬ (“พืชมีหัวใช้เป็นอาหาร”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย มัน, ภาษาลาว ມັນ (มัน), ภาษาไทลื้อ ᦙᧃ (มัน), ภาษาไทใหญ่ မၼ်း (มั๊น)
คำนาม
[แก้ไข]𑜉𑜃𑜫 • (มน์)
- มัน (หัวของพืช)
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]เทียบภาษาไทย มัน (“น้ำมัน, ไขมัน”)
คำนาม
[แก้ไข]𑜉𑜃𑜫 • (มน์)
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]𑜉𑜃𑜫 • (มน์)
รากศัพท์ 5
[แก้ไข]เทียบภาษาไทใหญ่ မၼ်ႈ (มั้น)
คำนาม
[แก้ไข]𑜉𑜃𑜫 • (มน์)
รากศัพท์ 6
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย มั่น, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩢ᩶ᩁ (หมั้ร), ภาษาลาว ໝັ້ນ (หมั้น), ภาษาไทลื้อ ᦖᧃᧉ (หฺมั้น), ภาษาไทใหญ่ မၼ်ႈ (มั้น), ภาษาพ่าเก မꩫ် (มน์)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]𑜉𑜃𑜫 • (มน์)
รากศัพท์ 7
[แก้ไข]เทียบภาษาไทใหญ่ မၢၼ်ႉ (ม๎าน)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]𑜉𑜃𑜫 • (มน์)
รากศัพท์ 8
[แก้ไข]เทียบภาษาไทใหญ่ မၼ်း (มั๊น), ภาษาไทย มัน (“สรรพนามเอกพจน์บุรุษที่สาม”)
คำสรรพนาม
[แก้ไข]𑜉𑜃𑜫 • (มน์)
- มัน, เป็นสรรพนามเอกพจน์บุรุษที่สาม