ใหญ่

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰɲaj/aɰᴮ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨿᩱ᩵ (หไย่) หรือ ᩉ᩠ᨿᩲ᩵ (หใย่), ภาษาลาว ໃຫຍ່ (ใหย่), ภาษาไทลื้อ ᦺᦊᧈ (ไหฺย่), ภาษาไทดำ ꪻꪐ꪿ (ใหฺญ่), ภาษาไทใหญ่ ယႂ်ႇ (ใย่), ภาษาอาหม 𑜐𑜧 (ญว์), 𑜊𑜨𑜧 (ยอ̂ว์) หรือ 𑜊𑜧𑜤 (ยาว์)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ไหฺย่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyài
ราชบัณฑิตยสภาyai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jaj˨˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ใหญ่ (คำอาการนาม ความใหญ่)

  1. โต, มีขนาดไม่เล็ก
  2. คนโต
  3. ขนาดโตกว่า หรือสำคัญกว่าเมื่อเปรียบเทียบกัน

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

ใหญ่ (คำอาการนาม ความใหญ่)

  1. รุนแรงมาก, อุตลุต
    คนทะเลาะกันใหญ่อยู่ที่หน้าปากซอย

คำตรงกันข้าม[แก้ไข]

คำพ้องความ[แก้ไข]

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ใหญ่ (คำอาการนาม กำใหญ่ or ความใหญ่)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨿᩱ᩵ (หไย่)

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ใหญ่ (คำอาการนาม ความใหญ่)

  1. ใหญ่, โต, กว้างขวาง
    ลูกผู้ใหญ่
    ลูกคนโต

อ้างอิง[แก้ไข]