มหา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี มหา หรือภาษาสันสกฤต महा (มหา); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร មហា (มหา)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | มะ-หา | ม̄ะ-หา | [เสียงสมาส] มะ-หา- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | má-hǎa | ma-hǎa | má-hǎa- |
ราชบัณฑิตยสภา | ma-ha | ma-ha | ma-ha- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ma˦˥.haː˩˩˦/(สัมผัส) | /ma˧.haː˩˩˦/(สัมผัส) | /ma˦˥.haː˩˩˦./ |
อุปสรรค
[แก้ไข]มหา
การใช้
[แก้ไข]ลูกคำ
[แก้ไข]- มหากฐิน
- มหากาพย์
- มหากาฬ
- มหาขันธกะ
- มหาจักร
- มหาชน
- มหาชัย
- มหาชาติ
- มหาโชตรัต
- มหาไถ่
- มหาเทพ
- มหาเทพี
- มหาเทวี
- มหาธาตุ
- มหาธิการ
- มหานิกาย
- มหานิล
- มหาบพิตร
- มหาบัณฑิต
- มหาพน
- มหาพรหม
- มหาภารตะ
- มหาภิเนษกรมณ์
- มหาภูต
- มหาเมฆ
- มหายาน
- มหายุค
- มหาราช
- มหาราชลีลา
- มหาฤกษ์
- มหาละลวย
- มหาวงศ์
- มหาวรรค
- มหาวิทยาลัย
- มหาศักราช
- มหาศาล
- มหาสงกรานต์
- มหาสดมภ์
- มหาสมุทร
- มหาสาวก
- มหาอำนาจ
- มหาอุจ
- มหาอุด
- มหาอุปรากร
- มหาอุปราช
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]มหา