สมาส
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต समास (สมาส, “ประสม”) หรือภาษาบาลี สมาส (“ประสม”), จาก สํ + อาส
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สะ-หฺมาด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà-màat |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-mat | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sa˨˩.maːt̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]สมาส
- การเอาศัพท์ตั้งแต่ 2 ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียวตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์, รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์, อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์
คำกริยา
[แก้ไข]สมาส (คำอาการนาม การสมาส)
- เอาศัพท์มาต่อกันเช่นนั้น
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สมสฺ + ณ หรือ สํ + อาส หรือ สํ + อสฺ + ณ
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]สมาส ช.
- คำประสม, คำสมาส
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "สมาส" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | สมาโส | สมาสา |
กรรมการก (ทุติยา) | สมาสํ | สมาเส |
กรณการก (ตติยา) | สมาเสน | สมาเสหิ หรือ สมาเสภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | สมาสสฺส หรือ สมาสาย หรือ สมาสตฺถํ | สมาสานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | สมาสสฺมา หรือ สมาสมฺหา หรือ สมาสา | สมาเสหิ หรือ สมาเสภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | สมาสสฺส | สมาสานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | สมาสสฺมิํ หรือ สมาสมฺหิ หรือ สมาเส | สมาเสสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | สมาส | สมาสา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาบาลี/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːt̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ณ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมอุปสรรค สํ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย