ႁွၼ်ႉ
หน้าตา
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *rɔːnꟲ⁴, จากภาษาไทดั้งเดิม *rwuːlꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ร้อน, ภาษาคำเมือง ᩁᩬ᩶ᩁ (รอ้ร), ภาษาอีสาน ฮ้อน, ภาษาลาว ຮ້ອນ (ฮ้อน), ภาษาไทลื้อ ᦣᦸᧃᧉ (ฮ้อ̂น), ภาษาไทดำ ꪭ꫁ꪮꪙ (ฮ้อน), ภาษาไทขาว ꪭꪮꪙꫂ, ภาษาไทใต้คง ᥞᥩᥢᥳ (ห๎อ̂น), ภาษาพ่าเก ꩭွꩫ် (หอ̂น์), ภาษาอาหม 𑜍𑜨𑜃𑜫 (รอ̂น์), ภาษาแสก รูน
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hɔn˦˨ˀ/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: ห้อน
- สัมผัส: -ɔn
- ฮ่อน (เสียงสั้น) (โทสั้น)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ႁွၼ်ႉ • (ห๎อ̂น) (คำอาการนาม တၢင်းႁွၼ်ႉ)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- สัมผัส:ภาษาไทใหญ่/ɔn
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทใหญ่
- คำคุณศัพท์ภาษาไทใหญ่