ᦃᦲᧈ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *kʰwiːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 騎 (MC gje)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขี่, ภาษาคำเมือง ᨡᩦ᩵ (ขี่), ภาษาลาว ຂີ່ (ขี่), ภาษาเขิน ᨡᩦ᩵ (ขี่), ภาษาไทดำ ꪄꪲ꪿ (ฃิ่), ภาษาไทใหญ่ ၶီႇ (ขี่), ภาษาอาหม 𑜁𑜣 (ขี), ภาษาจ้วง gwih
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /xiː˧˥/
คำกริยา
[แก้ไข]ᦃᦲᧈ (ฃี่) (อักษรไทธรรม ᨡᩦ᩵, คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦃᦲᧈ)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- คำกริยาภาษาไทลื้อ
- คำกริยาภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำสกรรมกริยาภาษาไทลื้อ