ᨩᩪ᩶
หน้าตา
ภาษาเขิน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɟuːꟲ² (“คนรัก; ผู้ล่วงประเวณี”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ชู้, ภาษาคำเมือง ᨩᩪ᩶ (ชู้), ภาษาลาว ຊູ້ (ซู้), ภาษาไทลื้อ ᦋᦴᧉ (ชู้), ภาษาไทใหญ่ ၸူႉ (จู๎), ภาษาไทใต้คง ᥓᥧᥳ (จู๎), ภาษาอาหม 𑜋𑜥 (ฉู)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕuː˦˩/
คำนาม
[แก้ไข]ᨩᩪ᩶ (ชู้)
- ชู้ (คนรัก)
ลูกคำ
[แก้ไข]- ᨩᩪ᩶ᨩᩮᩨ᩠ᨦ (ชู้เชืง)
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɟuːꟲ² (“คนรัก; ผู้ล่วงประเวณี”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ชู้, ภาษาเขิน ᨩᩪ᩶ (ชู้), ภาษาลาว ຊູ້ (ซู้), ภาษาไทลื้อ ᦋᦴᧉ (ชู้), ภาษาไทใหญ่ ၸူႉ (จู๎), ภาษาไทใต้คง ᥓᥧᥳ (จู๎), ภาษาอาหม 𑜋𑜥 (ฉู)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕuː˦˥/
คำนาม
[แก้ไข]ᨩᩪ᩶ (ชู้) (คำลักษณนาม ᨤᩫ᩠ᨶ)
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡suː˩/
คำนาม
[แก้ไข]ᨩᩪ᩶ (ชู้)
- อีกรูปหนึ่งของ ᦋᦴᧉ (ชู้)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาเขินที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเขิน
- คำนามภาษาเขิน
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม
- คำนามภาษาคำเมืองที่ใช้คำลักษณนาม ᨤᩫ᩠ᨶ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อในอักษรไทธรรม