ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ
ภาษาเขิน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หวาน, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), ภาษาลาว ຫວານ (หวาน), ภาษาไทใหญ่ ဝၢၼ် (วาน), ภาษาไทใต้คง ᥝᥣᥢᥴ (ว๋าน), ภาษาพ่าเก ဝꩫ် (วน์), ภาษาอาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), ภาษาจ้วง van, ภาษาแสก หว่าน
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /waːn˧˨˥/
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ)
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]- (ถอดอักษรและถอดเสียง) หวาน
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /waːn˨˦/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หวาน, ภาษาเขิน ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), ภาษาลาว ຫວານ (หวาน), ภาษาไทลื้อ ᦛᦱᧃ (หฺวาน), ภาษาไทใหญ่ ဝၢၼ် (วาน), ภาษาไทใต้คง ᥝᥣᥢᥴ (ว๋าน), ภาษาพ่าเก ဝꩫ် (วน์), ภาษาอาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), ภาษาจ้วง van, ภาษาแสก หว่าน
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน) (คำอาการนาม ᨣᩤᩴᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]เป็นไปได้ว่าเคยสะกด *ᩉ᩠ᩅ᩶ᩣ᩠ᨶ (หว้าน); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ว่าน, ภาษาเขิน ᩅ᩵ᩤ᩠ᨶ (ว่าน), ภาษาอีสาน หว้าน หรือ ว่าน, ภาษาลาว ຫວ້ານ (หว้าน) หรือ ວ່ານ (ว่าน), ภาษาไทลื้อ ᦛᦱᧃᧉ (หฺว้าน)
คำนาม
[แก้ไข]ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน)
- ศัพท์ภาษาเขินที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเขิน
- คำคุณศัพท์ภาษาเขิน
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/m
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม