หว่าน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴮ; ร่วมเชื้อสายกับอีสาน หว่าน, ลาว ຫວ່ານ (หว่าน), คำเมือง ᩉ᩠ᩅ᩵ᩣ᩠ᨶ (หว่าน), เขิน ᩉ᩠ᩅ᩵ᩣ᩠ᨶ (หว่าน), ไทลื้อ ᦛᦱᧃᧈ (หฺว่าน), ไทดำ ꪪ꪿ꪱꪙ (หฺว่าน), ไทขาว ꪪꪱꪙꫀ, ไทใหญ่ ဝၢၼ်ႇ (ว่าน), ไทใต้คง ᥝᥣᥢᥱ (ว่าน), อาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), จ้วง vanq
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺว่าน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | wàan |
ราชบัณฑิตยสภา | wan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /waːn˨˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]หว่าน (คำอาการนาม การหว่าน)
- (สกรรม) โปรย
- หว่านทาน
- (สกรรม) สาดให้กระจาย
- หว่านข้าวเปลือก
- (ในเชิงเปรียบเทียบ, สกรรม) แจกจ่ายไปทั่ว ๆ
- หว่านเงิน
ลูกคำ
[แก้ไข]ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /waːn˨˩/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]หว่าน (คำอาการนาม ก๋ารหว่าน หรือ ก๋านหว่าน)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หว่าน
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᩅ᩵ᩣ᩠ᨶ (หว่าน)
ภาษาแสก
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /vaːn²/, [vaːn˩]
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย หวาน, คำเมือง ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), เขิน ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), ลาว ຫວານ (หวาน), ไทลื้อ ᦛᦱᧃ (หฺวาน), ไทใหญ่ ဝၢၼ် (วาน), ไทใต้คง ᥝᥣᥢᥴ (ว๋าน), พ่าเก ဝꩫ် (วน์), อาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), จ้วง van
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]หว่าน
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]หว่าน
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่ต้องแก้การถ่ายเสียงวรรณยุกต์
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาแสกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาแสกที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาแสก
- คำคุณศัพท์ภาษาแสก
- คำกริยาภาษาแสก
- คำสกรรมกริยาภาษาแสก