ข้ามไปเนื้อหา

鳴く

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาญี่ปุ่น

[แก้ไข]
คันจิในศัพท์นี้

ระดับ: 2
คุนโยมิ
การสะกดแบบอื่น
啼く

รากศัพท์

[แก้ไข]

จากญี่ปุ่นเก่า รับจาก (na, เสียง, เสียงร้อง (โดยอารมณ์), bound form) [1] + (-ku, ปัจจัยกริยา); ร่วมเชื้อสายกับ () (naku)

การออกเสียง

[แก้ไข]
  • การลงน้ำหนักเสียงในรูปผันของ "鳴く" สำเนียงโตเกียว
แหล่งที่มา: พจนานุกรมสำเนียงภาษาญี่ปุ่นออนไลน์
Stem forms
Terminal (終止形)
Attributive (連体形)
鳴く [nàkú]
Imperative (命令形) 鳴け [nàké]
Key constructions
Passive 鳴かれる かれる [nàkárérú]
Causative 鳴かせる かせる [nàkásérú]
Potential 鳴ける ける [nàkérú]
Volitional 鳴こう [nàkóꜜò]
Negative 鳴かない かない [nàkánáí]
Negative perfective 鳴かなかった かなかった [nàkánáꜜkàttà]
Formal 鳴きます きま [nàkímáꜜsù]
Perfective 鳴いた いた [nàítá]
Conjunctive 鳴いて いて [nàíté]
Hypothetical conditional 鳴けば [nàkéꜜbà]

คำกริยา

[แก้ไข]

() (nakuโกดัง (ต้นเค้าศัพท์ () (naki), อดีตกาล ()いた (naita))

  1. ร้อง, ส่งเสียง (ใช้กับสัตว์)
    (まど)(そと)()(とり)()いた
    Mado no soto de kotori ga naita.
    นกตัวน้อยร้องอยู่ด้านนอกหน้าต่าง
    (ねこ)ニャーニャー()
    Neko wa nyānyā to naku.
    แมวร้องเหมียวเหมียว
    (うし)モー()
    Ushi wa mō to naku.
    วัวร้องมูมู

การผันรูป

[แก้ไข]

คำเกี่ยวข้อง

[แก้ไข]

อ้างอิง

[แก้ไข]
  1. 1.0 1.1 Matsumura, Akira, editor (2006) 大辞林 [Daijirin], Third edition, w:Tokyo: w:Sanseidō, →ISBN