ประโยค
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต प्रयोग (ปฺรโยค); เทียบภาษาบาลี ปโยค; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ປະໂຫຍກ (ปะโหยก), ภาษาเขมร ប្រយោគ (บฺรโยค)
เป็นศัพท์บัญญัติสำนักงานราชบัณฑิตยสภาของ sentence, statement สำหรับความหมาย 1
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ปฺระ-โหฺยก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bprà-yòok |
ราชบัณฑิตยสภา | pra-yok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pra˨˩.joːk̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ประโยค
- (ไวยากรณ์) คำพูดหรือข้อความที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่ง ๆ
- ประโยคบอกเล่า
- ประโยคปฏิเสธ
- ประโยคคำถาม
- ชั้นแห่งความรู้ภาษาบาลี
- เปรียญ 3 ประโยค
- สอบได้ประโยค 3
- ความเพียรเครื่องประกอบ, ความเพียร
- ประโยคสัมปทา
- การถึงพร้อมด้วยความเพียร
ลูกคำ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์บัญญัติสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
- สัมผัส:ภาษาไทย/oːk̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- th:ไวยากรณ์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/t
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- th:การศึกษา