สกุล
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เป็นไปได้ว่าขยายมาจาก กุล, จากภาษาบาลี กุล, แรกสุดจากภาษาสันสกฤต कुल (กุล), หรือแผลงมาจาก ตระกูล, จากภาษาเขมรเก่า ត្រកូល (ตฺรกูล), ซึ่งเชื่อว่าตัดมาจากภาษาสันสกฤต गोत्रकुल (โคตฺรกุล); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ສະກຸນ (สะกุน)
ในอนุกรมวิธาน ยืมความหมายจากภาษาอังกฤษ genus; เป็นศัพท์บัญญัติสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สะ-กุน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà-gun |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-kun | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sa˨˩.kun˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
คำนาม
[แก้ไข]สกุล
- ตระกูล, วงศ์, เชื้อสาย, เผ่าพันธุ์
- (ภาษาปาก) เชื้อชาติผู้ดี
- เป็นคนมีสกุล
- ผู้ดีมีสกุล
- (อนุกรมวิธาน) ระดับอนุกรมวิธานหนึ่ง อยู่ใต้วงศ์ (family) และเหนือชนิด (species); หน่วยอนุกรมวิธานในระดับดังกล่าว
- คำพ้องความ: จีนัส
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมความหมายจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์บัญญัติสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
- สัมผัส:ภาษาไทย/un
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:อนุกรมวิธาน