จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+0E0A, ช
THAI CHARACTER CHO CHANG

[U+0E09]
Thai
[U+0E0B]
ดูเพิ่ม: ช., ชิ, ชี, ชี้, ชุ, ชู, และ ชู้

ภาษาร่วม[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /t͡ɕʰ/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /ɟ/, /ʝ/, /ɕ/, /t͡ʃʰ/, /t͡ʃʼ/, /ʃ/, /ʒ/, /ʄ/

ภาษาไทย[แก้ไข]

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (รหัสมอร์ส) -..-
  • (อักษรเบรลล์)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชอชอ-ช้าง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔɔchɔɔ-cháang
ราชบัณฑิตยสภาchocho-chang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔː˧/(สัมผัส)/t͡ɕʰɔː˧.t͡ɕʰaːŋ˦˥/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงช.

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะตัวที่ 10 เรียกว่าช้าง เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ย่อมาจากภาษาบาลี ชลน (ไฟ)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชะ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchá
ราชบัณฑิตยสภาcha
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰaʔ˦˥/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

  1. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุ-ครุ-ลหุ เรียกว่า ช คณะ

ภาษาบาลี[แก้ไข]

ปัจจัย[แก้ไข]

  1. เกิด (ใช้ประกอบท้ายคำบางคำ)
    ปงฺกช
    บงกช, เกิดในเปลือกตม หมายถึง บัว
    วาริช
    เกิดในน้ำ หมายถึง ปลา
    ทฺวิช
    ทวิช, เกิด 2 ครั้ง หมายถึง พราหมณ์, นก