ดาล

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต ताल (ตาล, กลอน, สลัก)

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ดาน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdaan
ราชบัณฑิตยสภาdan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/daːn˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงดาน
ดาร

คำนาม[แก้ไข]

ดาล

  1. กลอนประตูที่ทำด้วยไม้สำหรับขัดบานประตูอย่างประตูโบสถ์
    ลงดาล
    ลั่นดาล
    ขัดดาล
  2. เหล็กสำหรับไขดาลโบสถ์หรือวิหาร มีรูปเป็นมุมฉาก 2 ทบอย่างคันฉัตรปักอยู่หลังพระพุทธรูป เรียกว่า ลูกดาล
  3. ช่องสำหรับไขดาล เรียกว่า ช่องดาล

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต तल (ตล, พื้น; ฝ่ามือ, ฝ่าเท้า) หรือ ताल (ตาล, พื้น; ฝ่ามือ, ฝ่าเท้า)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ดาน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdaan
ราชบัณฑิตยสภาdan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/daːn˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงดาน
ดาร

คำนาม[แก้ไข]

ดาล

  1. (ร้อยกรอง) พื้น
  2. (ร้อยกรอง) ฝ่า (ใช้แก่มือหรือเท้า)
    นางใดดาลไดบางอ่อนลอยด ลักษณลายลมยดมาลยศุข
    (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์)
    นางใดดาลเชองแง่งามตายสุกษุมลายอ่อนเลอศนิ์
    (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์)

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ดาน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdaan
ราชบัณฑิตยสภาdan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/daːn˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงดาน
ดาร

คำกริยา[แก้ไข]

ดาล

  1. (ร้อยกรอง) เกิดขึ้น, เป็นขึ้น, มีขึ้น
ดูเพิ่ม[แก้ไข]

รากศัพท์ 4[แก้ไข]

ยืมโดยเรียนรู้จากภาษาอาหรับ دَال(ดาล)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ดานดาล
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdaandaal
ราชบัณฑิตยสภาdandal
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/daːn˧/(สัมผัส)/daːl˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงดาน
ดาร

คำนาม[แก้ไข]

ดาล

  1. อักษรอาหรับ د() [1]

อ้างอิง[แก้ไข]