ข้ามไปเนื้อหา

กะหรี่

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

การหาผู้หญิงไปขายทางผู้ชายโดยให้หัวจ่ายงานให้มีสัมผัสทางร่างกายเน้นช่วงล่างช่วงบนได้ทำให้มีทุกเวทนาในการวนส่งไปลองเอากับผู้ชายทุกคนให้ค่าเงินไว่แล้วเด็กไม่ชอบเรียกว่ามีการยอมกันไม่ได้เพราะไม่เหมาะสมควรอยุ่เป็นไม่ควรเปลี่ยนคนทำให้หาข้าวของกินใช้อยากไม่ได้ออกไปเที่ยวมีคอบครัวไม่ต้องครอบครองคือไม่มีเจ้าของเพราะ การะกิณีไทย ผิดศีลในกฏหมายใช้ในการแลกเปลี่ยนกันไม่ได้การขายตัวเท่ากับการพรากตัดขาดจากร่างกายจนไม่มีคู่ต้องทุกถ์กริยาในความต้องการของผู้ชายคือx'cstokd0956gjj คือกุควบคุมไม่ได้ไม่มีหลักการในการหาวิธีอยู่ร่วมได้เพราะไปมีอะไรกับคนที่ศีลต่ำกว่าทางการเด็กอายุ25ปีขึ้นไปให้บินไปกับบอกเป็นหนี้ต้องเสียตัวจนจิตไม่ปกติธรรมดา​คือทำตามข้อกำหนดของบรรทัดฐานทำให้งานต้องกักขังไว้ไม่มีกินขาดอิสระภาพการเลือกภาษาในการขื่นอารมณ์จนเอามาด้ฝ่าทำให้หยาบเพราะคนมีความรู้ชื่อเสียงความคิดหรือกัตสะเทโทยันต์ในการอยุ่ร่วมกันแบบมีความสุขสงบทำให้รุ้สึกผิดมากจนฆ่ากันตายเพราะพอเอากันเขาไปไม่มองลักษณะแบบใช้ให้คนโกงไม่มีความจนิงใจการอยุ่เป็นคู่แบบที่อุมาเทวราชที่แปลว่าใช้มาแบบสิ่งที่รับรุ้ได้ตามสายตาที่มองอ่านผ่านตามที่ทางทางคือต้องมีวิชาห้ามด่าว่า

ภาษาไทย

[แก้ไข]
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์กะ-หฺรี่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgà-rìi
ราชบัณฑิตยสภาka-ri
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ka˨˩.riː˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]
แกงกะหรี่
ผงกะหรี่

ยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากทมิฬ கறி (กร̱ิ, น้ำข้น, ซอส)[1]

คำนาม

[แก้ไข]

กะหรี่

  1. แกงชนิดหนึ่ง สีเหลือง ปรุงด้วยเครื่องแกงกะหรี่
  2. เรียกเครื่องแกงกะหรี่ซึ่งประกอบด้วยขมิ้นและเครื่องเทศอื่น ๆ บดเป็นผงว่า ผงกะหรี่

ลูกคำ

[แก้ไข]

คำแปลภาษาอื่น

[แก้ไข]

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

ตัดมาจาก ช็อกการี หรือ ช็อกกะรี, แรกสุดจากฮินดี छोकरी (โฉกรี, เด็กผู้หญิง) [โชกะรี][1]

คำนาม

[แก้ไข]

กะหรี่

  1. (ภาษาปาก, หยาบคาย) โสเภณี
คำพ้องความ
[แก้ไข]
ดูที่ อรรถาภิธาน:โสเภณี
คำสืบทอด
[แก้ไข]
  • เขมรเหนือ: กลี

อ้างอิง

[แก้ไข]
  1. 1 2 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 100.