ก่ำ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ก̂า, กา, กำ, ก่า, ก้า, ก้ำ, ก๋า, และ ก๋ำ

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠ᩵ᩣᩴ (ก่าํ), ภาษาเขิน ᨠ᩵ᩣᩴ (ก่าํ), ภาษาลาว ກ່ຳ (ก่ำ), ภาษาไทลื้อ ᦂᧄᧈ (กั่ม), ภาษาไทใหญ่ ၵမ်ႇ (กั่ม), ภาษาพ่าเก ကံ (กํ), ภาษาจ้วง gaemq, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gaemq

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ก่ำ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgàm
ราชบัณฑิตยสภาkam
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kam˨˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ก่ำ

  1. สุกใส, เข้ม, จัด (มักใช้แก่สีแดงหรือทองที่สุก)

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ก่ำ

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩖ᩵ᩣᩴ (กล่าํ, มะกล่ำ)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ก่ำ (คำอาการนาม กำก่ำ หรือ ความก่ำ)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨠ᩵ᩣᩴ (ก่าํ, ก่ำ)
  2. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩖ᩵ᩣᩴ (กล่าํ, ก่ำ)