ถืก
หน้าตา
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]เทียบภาษาจีนยุคกลาง 觸 (MC tsyhowk, “สัมผัส, โดน”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ถูก, ภาษาคำเมือง ᨳᩪᨠ (ถูก), ภาษาลาว ຖືກ (ถืก), ภาษาไทลื้อ ᦏᦳᧅᧈ (ถุ่ก), ภาษาเขิน ᨳᩪᨠ (ถูก), ภาษาไทใหญ่ ထုၵ်ႇ (ถุ่ก), ภาษาไทใต้คง ᥗᥧᥐᥴ (ถู๋ก), ภาษาอาหม 𑜌𑜤𑜀𑜫 (ถุก์)
คำกริยา
[แก้ไข]ถืก (คำอาการนาม การถืก)
- ถูก (แตะต้อง, สัมผัส)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ถืก (คำอาการนาม ความถืก)
- ถูก (ไม่ผิด)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ถืก
- คำกำหนดว่าประธานเป็นผู้ถูกกระทำ
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ถูก, ภาษาคำเมือง ᨳᩪᨠ (ถูก), ภาษาลาว ຖືກ (ถืก), ภาษาไทลื้อ ᦏᦳᧅᧈ (ถุ่ก), ภาษาเขิน ᨳᩪᨠ (ถูก), ภาษาจ้วงแบบหนง tuk
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ถืก (คำอาการนาม ความถืก)
- ถูก (ไม่แพง)