ᦏᦳᧅᧈ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /tʰuːk̚˧˥/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]เทียบภาษาจีนยุคกลาง 觸 (MC tsyhowk, “สัมผัส, โดน”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ถูก, ภาษาคำเมือง ᨳᩪᨠ (ถูก), ภาษาอีสาน ถืก, ภาษาลาว ຖືກ (ถืก), ภาษาเขิน ᨳᩪᨠ (ถูก), ภาษาไทใหญ่ ထုၵ်ႇ (ถุ่ก), ภาษาไทใต้คง ᥗᥧᥐᥴ (ถู๋ก), ภาษาอาหม 𑜌𑜤𑜀𑜫 (ถุก์)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ᦏᦳᧅᧈ (ถุ่ก)
ลูกคำ
[แก้ไข]ควร
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ᦏᦳᧅᧈ (ถุ่ก) (คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦏᦳᧅᧈ)
ลูกคำ
[แก้ไข]ถูกต้อง
- ᦶᦉᧁᦂᦲᧃᧈᦢᧁᧈᦏᦳᧅᧈ (แสวกี่นเบ่าถุ่ก)
- ᦷᦎᧅᦏᦳᧅᧈ (โตกถุ่ก)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦏᦳᧅᧈᦐᦱᧉ (ถุ่กหฺน้า)
- ᦝᦱᧉᦡᦲᦔᦲᦏᦳᧅᧈ (ฟ้าดีปีถุ่ก)
คำกริยา
[แก้ไข]ᦏᦳᧅᧈ (ถุ่ก) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦏᦳᧅᧈ)
ลูกคำ
[แก้ไข]ถูก
- ᦏᦳᧅᧈᦷᦀᧅᦏᦳᧅᧈᦺᦈ (ถุ่กโอกถุ่กไจ)
- ᦏᦳᧅᧈᦺᦈ (ถุ่กไจ)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦏᦳᧅᧈᦎᦱ (ถุ่กตา)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ถูก, ภาษาคำเมือง ᨳᩪᨠ (ถูก), ภาษาอีสาน ถืก, ภาษาลาว ຖືກ (ถืก), ภาษาเขิน ᨳᩪᨠ (ถูก), ภาษาจ้วงแบบหนง tuk
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ᦏᦳᧅᧈ (ถุ่ก) (คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦏᦳᧅᧈ)
- ถูก (ไม่แพง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทลื้อ
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/l
- คำคุณศัพท์ภาษาไทลื้อ
- คำคุณศัพท์ภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำกริยาภาษาไทลื้อ
- คำกริยาภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำสกรรมกริยาภาษาไทลื้อ