วิหาร
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี วิหาร (“ที่พัก, ที่อยู่”) หรือภาษาสันสกฤต विहार (วิหาร)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | วิ-หาน | [เสียงสมาส] วิ-หา-ระ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | wí-hǎan | wí-hǎa-rá- |
ราชบัณฑิตยสภา | wi-han | wi-ha-ra- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /wi˦˥.haːn˩˩˦/(สัมผัส) | /wi˦˥.haː˩˩˦.ra˦˥./ |
คำนาม
[แก้ไข]วิหาร
- วัด, ที่อยู่ของพระสงฆ์
- ที่ประดิษฐานพระพุทธรูป, คู่กับ โบสถ์
- การพักผ่อน
- ทิวาวิหาร – การพักผ่อนในเวลากลางวัน
ลูกคำ
[แก้ไข]ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]วิ + หรฺ + ณ หรือ วิ + หาร; เทียบกับภาษาสันสกฤต विहार (วิหาร)
คำนาม
[แก้ไข]วิหาร ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "วิหาร" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | วิหาโร | วิหารา |
กรรมการก (ทุติยา) | วิหารํ | วิหาเร |
กรณการก (ตติยา) | วิหาเรน | วิหาเรหิ หรือ วิหาเรภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | วิหารสฺส หรือ วิหาราย หรือ วิหารตฺถํ | วิหารานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | วิหารสฺมา หรือ วิหารมฺหา หรือ วิหารา | วิหาเรหิ หรือ วิหาเรภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | วิหารสฺส | วิหารานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | วิหารสฺมิํ หรือ วิหารมฺหิ หรือ วิหาเร | วิหาเรสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | วิหาร | วิหารา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:ศาสนาพุทธ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมอุปสรรค วิ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ณ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย