สลัด
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สะ-หฺลัด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà-làt |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-lat | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sa˨˩.lat̚˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาอังกฤษ salad (“ยำผัก”)
คำนาม
[แก้ไข]สลัด
- (ยำ~) ชื่อยำชนิดหนึ่งตามแบบชาวตะวันตก ประกอบด้วยผักสดหลายชนิด เช่น ผักกาดหอม หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ แตงกวา เป็นหลัก และอาจมีเนื้อสัตว์หรือไข่ด้วย ราดด้วยน้ำปรุงรสที่เรียกว่า น้ำสลัด สลัดมีหลายชนิด เช่น สลัดผัก สลัดเนื้อสัน สลัดแขก สลัดผลไม้
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากภาษามาเลเซีย selat (“ช่องแคบ”); มีที่มาจากช่องแคบมะละกา ซึ่งเป็นเส้นทางเดินเรือสำคัญ มีโจรชุกชุมที่คอยดักปล้นเรือสินค้า
คำนาม
[แก้ไข]สลัด
- โจรที่ปล้นเรือในทะเล เรียกว่า โจรสลัด
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]สลัด (คำอาการนาม การสลัด)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/at̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษ
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษามาเลเซีย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากภาษามาเลเซีย
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษามาเลเซีย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้