ยำ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ยำ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | yam |
ราชบัณฑิตยสภา | yam | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /jam˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]เทียบเขมร ញាំ (ญาํ), แคะ 醃 (âm, “ดองเกลือ”)[1]
คำกริยา
[แก้ไข]ยำ (คำอาการนาม การยำ)
- เคล้าคละ, ปะปน
- ทำอาหารโดยเคล้าเข้าด้วยกัน (ดูคำนาม)
- (ภาษาปาก, สแลง) ซอยกัญชาผสมกับยาเส้น
- (ภาษาปาก, สแลง) ทำร้ายร่างกาย, ประทุษร้าย
- ผู้เสียหายแฉต้นตอ! โดนยำตีน 20 ต่อ 1 หน้าพังยับ เย็บ 94 เข็ม งง ผิดอะไร? ไม่รู้จักมาก่อน
- ดาบห้าวกินไม่จ่ายโดนยำ เจอข้อหาหนัก-สอบวินัย
คำนาม
[แก้ไข]ยำ
- ชื่อกับข้าวอย่างหนึ่งที่ปรุงโดยเอาผักและเนื้อสัตว์เป็นต้นมาเคล้าเข้าด้วยกัน
- ยำเนื้อ
- ยำเล็บมือนาง
- ยำปลากรอบ
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ยำ (คำอาการนาม การยำ)
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย ยำ, ลาว ຢຳ (อยำ)
คำกริยา
[แก้ไข]ยำ (คำอาการนาม การยำ)