ใหม่
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
เนื้อหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmɤːlᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩲ᩵ (หใม่), ภาษาลาว ໃໝ່ (ใหม่), ภาษาไทลื้อ ᦺᦖᧈ (ไหฺม่), ภาษาไทดำ ꪻꪢ꪿ (ใหฺม่), ภาษาไทใหญ่ မႂ်ႇ (ใม่), ภาษาไทใต้คง ᥛᥬᥱ (ใม่), ภาษาอาหม 𑜉𑜧 (มว์) หรือ 𑜉𑜨𑜧 (มอ̂ว์), ภาษาปู้อี mos, ภาษาจ้วง moq; เทียบภาษาเวียดนาม mới (เม้ย), ภาษาจ้วงใต้ mawq
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ใหฺม่ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mài |
ราชบัณฑิตยสภา | mai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /maj˨˩/ |
คำวิเศษณ์[แก้ไข]
ใหม่
- เพิ่งมี
- มาใหม่
- รุ่นใหม่
- มีอีกนอกจากที่เคยมีอยู่แล้ว
- มีเมียใหม่
- ซ้ำ
- พูดใหม่, ทำใหม่, อ่านใหม่
- อีกครั้งหนึ่ง
- ตื่นมาแล้วกลับไปนอนใหม่
- ยังไม่ได้ใช้
- ของใหม่
- ไม่เคยประสบมาก่อน
- ความรู้ใหม่ เพลงใหม่
- เริ่มแรก
- ข้าวใหม่
- นักเรียนใหม่
- ไม่ใช่เก่า
- บ้านสร้างใหม่
คำตรงข้าม[แก้ไข]
- (8) เก่า
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
หมวดหมู่:
- ภาษาไทย:สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำวิเศษณ์ภาษาไทย
- แม่แบบหน้าที่คำวิเศษณ์ภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- บทความที่ยังใช้ pn อยู่
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- Translation table header lacks gloss
- คำที่ใช้ไม้ม้วน